วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2552

DTSO4 14/07/2552

โครงสร้างข้อมูลแบบเซ็ต
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ข้อมูลแต่ละตัวไม่มีความสัมพันธ์กัน
ในภาษาซีจะไม่มีประเภทข้อมูลแบบเซ็ตนี้เหมือนกับในภาษาปาสคาล
แต่สามารถใช้หลักการของการดำเนินงานแบบเช็ตมาใช้ได้

วิธีการแก้ปัญหาเบื้องต้น
- จะต้องกำหนดเซ็ตของผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนในแต่ละวิชา
- นำเซ็ตดังกล่าวที่ได้มาทำการ intersection กัน หากมีเซ็ตใดที่
ทำการ intersect กันแล้ว มีข้อมูลสมาชิกในเซ็ตที่ซ้ำกันอยู่
จะไม่สามารถจัดให้วิชาดังกล่าวอยู่ในวันเวลาเดียวกันได้ตัวอย่างดังกล่าว
เป็นการนำแนวความคิดเรื่องการจัดการแบบเช็ตมาประยุกใช้งาน
โครงสร้างข้อมูลแบบสตริงสตริง (String)
หรือ สตริงของอักขระ (CharacterString) เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วยตัวอักษร
ตัวเลขหรือเครื่องหมายเรียงติดต่อกันไปรวมทั้งช่องว่าง
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับข้อมูลที่เป็นสตริงมีการนำไปใช้
สร้างโปรแกรมประเภทบรรณาธิการข้อความ(text editor)
หรือโปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (wordprocessing)
ซึ่งมีการทำงานที่อำนวยความสะดวกหลายอย่างเช่น
การตรวจสอบข้อความ การจัดแนวข้อความในแต่ละย่อหน้า
และการค้นหาคำ เป็นต้น

การกำหนดค่าให้กับสตริงนั้น เราจะใช้เครื่องหมาย doublequote (“ ”)
เช่น “abc” คือ ชุดของอักขระที่มีขนาด 4 (รวม \0 ด้วย)
ข้อสังเกต
string constant are different from character constant
#define NME “Semi”
main ( ){
char *cpntr;cpntr=NME;
printf(“con\n”);
printf(“%s, %u, %c\n”, “con”, “duc”,*“tor”);
printf(““%s, %u, %c\n”, NME, NME,*NME);
printf(““%s, %u, %c\n”, cpntr, cpntr,*cpntr);
}

ผลการรันโปรแกรม
concon, 37,
tSemi, 16,
SSemi, 16, S

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น