วันพุธที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ลูกเเรดเตรียมพร้อมล่าเหยื่อ

วิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯได้สอนให้ดิฉันมีความรับผิดชอบ ในหน้าที่การงานมากขึ้นกว่าเดิม
ทำให้มีการพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้พร้อมที่จะเข้าสู่สังคมเเต่ละสังคม มีการเสริมสร้างทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ ที่เราต้องใช้ในชีวิตประจำวัน ฝึกนิสัยของเราให้มีการเตรียมความพร้อม ที่จะทำงานในวันต่อไป และทีสำคัญได้เรียนรู้การทำงานเป็นทีมการเเก้ปัญหาเฉพาะหน้า พร้อมกับได้ฝึกลายมือและเรียนรู้การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้องด้วยค่ะ ดิฉันต้องขอขอบคุณคณะอาจารย์ทุกท่านที่เสียสละ เเละเวลา มาสอนสิ่งดีๆให้เเก่ดิฉัน ดิฉันสัญญาว่าจะนำความรู้ที่อาจารย์ให้มาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุดค่ะ

DTS-07-สแตก

สแตก เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบลิเนียร์ลิสต์(linear list) ที่สามารถนำข้อมูลเข้าหรือออกได้ทางเดียวคือส่วนบนของสแตกหรือ หรือเรียกว่า ท๊อปของสแตก (Top Of Stack) ซึ่งคุณสมบัติดังกล่าวเรียกว่า ไลโฟลิสต์ (LIFO list: Last-In-First-Out list) หรือ พูชดาวน์ลิสต์ (Pushdown List) คือสมาชิกที่เข้าลิสต์ที่หลังสุดจะได้ออกจากลิสต์ก่อน หรือ เข้าหลังออกก่อน การเพิ่มข้อมูลเข้าสแตกจะเรียกว่าพูชชิ่ง (pushing) การนำข้อมูลจากสแตกเรียกว่า ป๊อปปิ้ง (poping)

ส่วน ประกอบของสแตก เราจะมีตัวแปรตัวหนึ่งที่ใช้เป็นตัวชี้สแตก(stack pointer ) เพื่อเป็นตัวชี้ข้อมูลที่อยู่บนสุดของสแตก ซึ่งจะทำให้สามารถจัดการข้อมูล ที่จะเก็บในสแตกได้ง่าย ดังนั้นโครงสร้างข้อมูลแบบสแตกจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนที่สำคัญ คือตัวชี้สแตก ( Stack Pointer ) ซึ่งมีหน้าที่ชี้ไปยังข้อมูลที่อยู่บนสุดของ สแตก ( Top stack )สมาชิกของสแตก ( Stack Element ) เป็นข้อมูลที่จะเก็บลงไปในสแตก ซึ่งจะต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน เช่น ข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม เป็นต้น

ปัญหาที่เกิดขึ้นกับสแตกคือขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นซึ่งมีผลมาจากการจัดการสแตกมีดังนี้

สแตกเต็ม (Full Stack)

สแตกว่าง (Empty Stack)

สแตกเต็ม (Full Stack)

วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2552

DTS06 28/07/2552

#include
#include
void main()
{
int n,i;
float a,min;
clrscr();
cout<<"number : ";
cin>>n; cout<<"number1 : ";
cin>>a;
min=a;
for(i=2; i<=n;i++)

{
cout<<"number"<< i<<":>
< cin>>a;
if(min>a)
{
min=a;

}
}
cout<<"number less than : ";
cout<

}





DTS05 28/07/2552

สรุป Linked List
ลิงค์ลิสต์ (Linked List) เป็นวิธีการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่องของอิลิเมนต์ต่าง ๆ
โดยมีพอยเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อแต่ละอิลิเมนท์ เรียกว่าโนด (Node)
ซึ่งในแต่ละโนดจะประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือData จะเก็บข้อมูลของอิลิเมนท์
และส่วนที่สอง คือ Link Field จะทำหน้าที่เก็บตำแหน่งของโนดต่อไปในลิสต์

กระบวนงานและฟังก์ชั่นที่ใช้ดำเนินงานพื้นฐาน
1. กระบวนงาน Create List หน้าที่ สร้างลิสต์ว่าง ผลลัพธ์ ลิสต์ว่าง
2. กระบวนงาน Insert Node
3. กระบวนงาน Delete Node
4. กระบวนงาน Search list
5. กระบวนงาน Traverse
6. กระบวนงาน Retrieve Node
7. ฟังก์ชั่น EmptyList
8. ฟังก์ชั่น list count
9. กระบวนงาน destroy list
Linked List แบบซับซ้อน
1. Circular Linked List เป็นลิงค์ลิสต์ที่สมาชิกตัวสุดท้าย
มีตัวชี้ (list) ชี้ไปที่สมาชิกตัวแรก
ของลิงค์ลิสต์ จะมีการทำงานไปในทิศทางเดียวเท่านั้นคือเป็นแบบวงกลม
2. Double Linked List เป็นลิงค์ลิสต์ที่มีทิศทางการทำงานแบบ 2 ทิศทาง
ในลิงค์ลิสต์แบบ 2ทิศทาง
ส่วนข้อมูลจะมีตัวชี้ไปที่ข้อมูลก่อนหน้า (backward pointer)
และตัวชี้ข้อมูลถัดไป(forward pointer)

DTSO4 14/07/2552

โครงสร้างข้อมูลแบบเซ็ต
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ข้อมูลแต่ละตัวไม่มีความสัมพันธ์กัน
ในภาษาซีจะไม่มีประเภทข้อมูลแบบเซ็ตนี้เหมือนกับในภาษาปาสคาล
แต่สามารถใช้หลักการของการดำเนินงานแบบเช็ตมาใช้ได้

วิธีการแก้ปัญหาเบื้องต้น
- จะต้องกำหนดเซ็ตของผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนในแต่ละวิชา
- นำเซ็ตดังกล่าวที่ได้มาทำการ intersection กัน หากมีเซ็ตใดที่
ทำการ intersect กันแล้ว มีข้อมูลสมาชิกในเซ็ตที่ซ้ำกันอยู่
จะไม่สามารถจัดให้วิชาดังกล่าวอยู่ในวันเวลาเดียวกันได้ตัวอย่างดังกล่าว
เป็นการนำแนวความคิดเรื่องการจัดการแบบเช็ตมาประยุกใช้งาน
โครงสร้างข้อมูลแบบสตริงสตริง (String)
หรือ สตริงของอักขระ (CharacterString) เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วยตัวอักษร
ตัวเลขหรือเครื่องหมายเรียงติดต่อกันไปรวมทั้งช่องว่าง
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับข้อมูลที่เป็นสตริงมีการนำไปใช้
สร้างโปรแกรมประเภทบรรณาธิการข้อความ(text editor)
หรือโปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (wordprocessing)
ซึ่งมีการทำงานที่อำนวยความสะดวกหลายอย่างเช่น
การตรวจสอบข้อความ การจัดแนวข้อความในแต่ละย่อหน้า
และการค้นหาคำ เป็นต้น

การกำหนดค่าให้กับสตริงนั้น เราจะใช้เครื่องหมาย doublequote (“ ”)
เช่น “abc” คือ ชุดของอักขระที่มีขนาด 4 (รวม \0 ด้วย)
ข้อสังเกต
string constant are different from character constant
#define NME “Semi”
main ( ){
char *cpntr;cpntr=NME;
printf(“con\n”);
printf(“%s, %u, %c\n”, “con”, “duc”,*“tor”);
printf(““%s, %u, %c\n”, NME, NME,*NME);
printf(““%s, %u, %c\n”, cpntr, cpntr,*cpntr);
}

ผลการรันโปรแกรม
concon, 37,
tSemi, 16,
SSemi, 16, S

วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS03-30/06/2009

Array เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า Linear List มี
ลักษณะคล้ายเซตในคณิตศาสตร์สมาชิก คือ อะเรย์จะประกอบ
ด้วยสมาชิกที่มีจำนวนคงที่ มีรูปแบบข้อมูลเป็นแบบเดียวกัน
สมาชิกแต่ละตัวใช้เนื้อที่จัดเก็บที่มีขนาดเท่ากัน เรียงต่อเนื่องใน
หน่วยความจำหลัก
Array int k[5][10] จะเป็นเหมือนเมททริกคือเอามาคูณกัน
จะสามารถเก็บค่าได้ 50 ตัว
subscript ซึ่งเป็นตัวกำหนดขอบเขตของอะเรย์ มีได้
มากกว่า 1 ตัวจำนวน subscript จะเป็น ตัวบอกมิติของอะเรย์
อะเรย์ที่มี subscript มากกว่า 1 ตัวขึ้นไป จะเรียกว่า อะเรย์หลายมิติ
การกำหนด subscriptแต่ละตัวจะประกอบไปด้วย ค่าสูงสุดและ ค่าต่ำสุดค่าต่ำสุด
เรียก ขอบเขตล่าง (lower bound)
ค่าสูงสด เรียก ขอบเขตบน (upper bound)
ขนาดarray = ค่าคูณของ subscript แต่ละตัว
รูปแบบ data-type array-name [expression]
data-type คือ ประเภทข้อมูล array เช่น int char float
array-name คือ ชื่อของ arraystatement เหมือนกับ expression
expression คือ นิพจน์จำนวนเต็มซึ่งระบุจำนวนสมาชิกของ array
array ของ character
character = string
[ ] เรียกว่าวงวงเล็บก้ามปู หรือ วงเล็บใหญ่
หลังLoop forถ้าไม่ใส่ {} จะทำ 1statement
ถ้าจะมีหลายstatementต้องใส่ {} หลังforทุกครั้ง

วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS 02-23/06/09 (Record)

#include <stdio.h>
#include <string.h>

void main()
{
struct Mobile

{
char name [50];

char customer [10];
char Pizza [50];
char Salads [30];
char Dessert [30];
char Beverage[30];
int Set_number;
float Total;
}
Restaurant;
strcpy(Restaurant.name,"Home of The Pizza");
strcpy(Restaurant.customer,"K.Anna");
strcpy(Restaurant.Pizza,"Hawaiian medium size 299 baht");
strcpy(Restaurant.Salads,"Salmone Salad 149 baht");
strcpy(Restaurant.Dessert,"Fruity Milky 89 baht");
strcpy(Restaurant.Beverage,"Pepsi Max 500 ml.70 baht");
Restaurant.Set_number=2;
Restaurant.Total=617;
printf("==========Home of The Pizza==========\n\n----------Customer Confirm----------\n\n");
printf("Customer :%s\n",Restaurant.customer);
printf("Pizza :%s\n",Restaurant.Pizza);
printf("Salads :%s\n",Restaurant.Salads);
printf("Dessert :%s\n",Restaurant.Dessert);
printf("Beverage:%s\n",Restaurant.Beverage);
printf("Set_number :%d\n",Restaurant.Set_number);
printf("Total :%.2f\n",Restaurant.Total);
}

วันเสาร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552

สรุป Data Structure

Data Structure Introduction
โครงสร้างข้อมูล = ข้อมูล+โครงสร้าง
ข้อมูลหมายถึงข้อเท็จจริง โครงสร้างคือความสัมพันธ์ในกลุ่มหรือหรือองค์ประกอบ
โครงสร้างข้อมูลคือ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้างนั้น ๆ
การจัดการโครงสร้าง เพิ่ม แก้ไข ลบ
ประเภทของโครงสร้างข้อมูลแบบออกเป็น 2 ประเภท
1.โครงสร้างทางกายภาพ
1.1) ข้อมูลเบื้องต้น --> จำนวนเต็ม จำนวนจริง ตัวอักขระ
1.2) ข้อมูลโครงสร้าง --> แถวลำดับ ระเบียนข้อมูล แฟ้มข้อมูล
2.โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ
2.1) โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น --> ลิสต์ แสตก คิว สตริง
2.2) โครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น --> ทรี กราฟ
**ในการเลือกใช้โครงสร้างแบบใดนั้นจะต้องคำนึงถึง โครงสร้างนั้นจะสามารถสร้างความสัมพันธ์ให้กับข้อมูลนั้นได้อย่างสมบูรณ์ที่สุดและง่ายต่อการดำเนินการในระบบงาน
การแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลัก(RAM)
1. การแทนที่แบบสแตติก คือจองทุกพื้นที่ เช่น มีห้อง1 ห้องก็ใช้พื้นที่หมดทั้งห้อง (Array)
2. การแทนที่ข้อมูลแบบไดนามิก คือจะมีความยืดหยุ่น เช่นมีห้อง 1 ห้อง การใช้พื้นที่ของห้องก็จะใช้แค่เป็นจุดๆ เท่านั้น พื้นที่ที่เหลือสามารถใช้อย่างอื่นได้อีก (Pointer)
อัลกอลิทึม (Algorithm) เป็นวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีระบบ ขั้นตอนวิธีที่ดีควรมีลักษณะดังนี้
1.มีความถูกต้อง
2.ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
3.สั้น กระชับ มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น
4.ใช้หน่วยความจำน้อยที่สุด
5.มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน
6.ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด
7.ง่ายต่อความเข้าใจ
**loop จะต้องมีค่าเริ่มต้น เงื่อนไข มีตัวสิ้นสุด ตัวเพิ่มหรือลดค่าขึ้นอยู้กับ
น้อย --> มาก = เพิ่ม
มาก --> น้อย = ลด

วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ประวัติ


นางสาวลาวัณย์ ธัญญพันธ์ ชื่อเล่น วาว

รหัสนักศึกษา 50132792068

Miss. Lawan Thanyapan

หลักสูตร การบริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะวิทยาการการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

E-mail : u50132792068@gmail.com