วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS03-30/06/2009

Array เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า Linear List มี
ลักษณะคล้ายเซตในคณิตศาสตร์สมาชิก คือ อะเรย์จะประกอบ
ด้วยสมาชิกที่มีจำนวนคงที่ มีรูปแบบข้อมูลเป็นแบบเดียวกัน
สมาชิกแต่ละตัวใช้เนื้อที่จัดเก็บที่มีขนาดเท่ากัน เรียงต่อเนื่องใน
หน่วยความจำหลัก
Array int k[5][10] จะเป็นเหมือนเมททริกคือเอามาคูณกัน
จะสามารถเก็บค่าได้ 50 ตัว
subscript ซึ่งเป็นตัวกำหนดขอบเขตของอะเรย์ มีได้
มากกว่า 1 ตัวจำนวน subscript จะเป็น ตัวบอกมิติของอะเรย์
อะเรย์ที่มี subscript มากกว่า 1 ตัวขึ้นไป จะเรียกว่า อะเรย์หลายมิติ
การกำหนด subscriptแต่ละตัวจะประกอบไปด้วย ค่าสูงสุดและ ค่าต่ำสุดค่าต่ำสุด
เรียก ขอบเขตล่าง (lower bound)
ค่าสูงสด เรียก ขอบเขตบน (upper bound)
ขนาดarray = ค่าคูณของ subscript แต่ละตัว
รูปแบบ data-type array-name [expression]
data-type คือ ประเภทข้อมูล array เช่น int char float
array-name คือ ชื่อของ arraystatement เหมือนกับ expression
expression คือ นิพจน์จำนวนเต็มซึ่งระบุจำนวนสมาชิกของ array
array ของ character
character = string
[ ] เรียกว่าวงวงเล็บก้ามปู หรือ วงเล็บใหญ่
หลังLoop forถ้าไม่ใส่ {} จะทำ 1statement
ถ้าจะมีหลายstatementต้องใส่ {} หลังforทุกครั้ง

วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS 02-23/06/09 (Record)

#include <stdio.h>
#include <string.h>

void main()
{
struct Mobile

{
char name [50];

char customer [10];
char Pizza [50];
char Salads [30];
char Dessert [30];
char Beverage[30];
int Set_number;
float Total;
}
Restaurant;
strcpy(Restaurant.name,"Home of The Pizza");
strcpy(Restaurant.customer,"K.Anna");
strcpy(Restaurant.Pizza,"Hawaiian medium size 299 baht");
strcpy(Restaurant.Salads,"Salmone Salad 149 baht");
strcpy(Restaurant.Dessert,"Fruity Milky 89 baht");
strcpy(Restaurant.Beverage,"Pepsi Max 500 ml.70 baht");
Restaurant.Set_number=2;
Restaurant.Total=617;
printf("==========Home of The Pizza==========\n\n----------Customer Confirm----------\n\n");
printf("Customer :%s\n",Restaurant.customer);
printf("Pizza :%s\n",Restaurant.Pizza);
printf("Salads :%s\n",Restaurant.Salads);
printf("Dessert :%s\n",Restaurant.Dessert);
printf("Beverage:%s\n",Restaurant.Beverage);
printf("Set_number :%d\n",Restaurant.Set_number);
printf("Total :%.2f\n",Restaurant.Total);
}

วันเสาร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552

สรุป Data Structure

Data Structure Introduction
โครงสร้างข้อมูล = ข้อมูล+โครงสร้าง
ข้อมูลหมายถึงข้อเท็จจริง โครงสร้างคือความสัมพันธ์ในกลุ่มหรือหรือองค์ประกอบ
โครงสร้างข้อมูลคือ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้างนั้น ๆ
การจัดการโครงสร้าง เพิ่ม แก้ไข ลบ
ประเภทของโครงสร้างข้อมูลแบบออกเป็น 2 ประเภท
1.โครงสร้างทางกายภาพ
1.1) ข้อมูลเบื้องต้น --> จำนวนเต็ม จำนวนจริง ตัวอักขระ
1.2) ข้อมูลโครงสร้าง --> แถวลำดับ ระเบียนข้อมูล แฟ้มข้อมูล
2.โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ
2.1) โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น --> ลิสต์ แสตก คิว สตริง
2.2) โครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น --> ทรี กราฟ
**ในการเลือกใช้โครงสร้างแบบใดนั้นจะต้องคำนึงถึง โครงสร้างนั้นจะสามารถสร้างความสัมพันธ์ให้กับข้อมูลนั้นได้อย่างสมบูรณ์ที่สุดและง่ายต่อการดำเนินการในระบบงาน
การแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลัก(RAM)
1. การแทนที่แบบสแตติก คือจองทุกพื้นที่ เช่น มีห้อง1 ห้องก็ใช้พื้นที่หมดทั้งห้อง (Array)
2. การแทนที่ข้อมูลแบบไดนามิก คือจะมีความยืดหยุ่น เช่นมีห้อง 1 ห้อง การใช้พื้นที่ของห้องก็จะใช้แค่เป็นจุดๆ เท่านั้น พื้นที่ที่เหลือสามารถใช้อย่างอื่นได้อีก (Pointer)
อัลกอลิทึม (Algorithm) เป็นวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีระบบ ขั้นตอนวิธีที่ดีควรมีลักษณะดังนี้
1.มีความถูกต้อง
2.ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
3.สั้น กระชับ มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น
4.ใช้หน่วยความจำน้อยที่สุด
5.มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน
6.ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด
7.ง่ายต่อความเข้าใจ
**loop จะต้องมีค่าเริ่มต้น เงื่อนไข มีตัวสิ้นสุด ตัวเพิ่มหรือลดค่าขึ้นอยู้กับ
น้อย --> มาก = เพิ่ม
มาก --> น้อย = ลด

วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ประวัติ


นางสาวลาวัณย์ ธัญญพันธ์ ชื่อเล่น วาว

รหัสนักศึกษา 50132792068

Miss. Lawan Thanyapan

หลักสูตร การบริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะวิทยาการการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

E-mail : u50132792068@gmail.com