วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2552

DTS06 28/07/2552

#include
#include
void main()
{
int n,i;
float a,min;
clrscr();
cout<<"number : ";
cin>>n; cout<<"number1 : ";
cin>>a;
min=a;
for(i=2; i<=n;i++)

{
cout<<"number"<< i<<":>
< cin>>a;
if(min>a)
{
min=a;

}
}
cout<<"number less than : ";
cout<

}





DTS05 28/07/2552

สรุป Linked List
ลิงค์ลิสต์ (Linked List) เป็นวิธีการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่องของอิลิเมนต์ต่าง ๆ
โดยมีพอยเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อแต่ละอิลิเมนท์ เรียกว่าโนด (Node)
ซึ่งในแต่ละโนดจะประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือData จะเก็บข้อมูลของอิลิเมนท์
และส่วนที่สอง คือ Link Field จะทำหน้าที่เก็บตำแหน่งของโนดต่อไปในลิสต์

กระบวนงานและฟังก์ชั่นที่ใช้ดำเนินงานพื้นฐาน
1. กระบวนงาน Create List หน้าที่ สร้างลิสต์ว่าง ผลลัพธ์ ลิสต์ว่าง
2. กระบวนงาน Insert Node
3. กระบวนงาน Delete Node
4. กระบวนงาน Search list
5. กระบวนงาน Traverse
6. กระบวนงาน Retrieve Node
7. ฟังก์ชั่น EmptyList
8. ฟังก์ชั่น list count
9. กระบวนงาน destroy list
Linked List แบบซับซ้อน
1. Circular Linked List เป็นลิงค์ลิสต์ที่สมาชิกตัวสุดท้าย
มีตัวชี้ (list) ชี้ไปที่สมาชิกตัวแรก
ของลิงค์ลิสต์ จะมีการทำงานไปในทิศทางเดียวเท่านั้นคือเป็นแบบวงกลม
2. Double Linked List เป็นลิงค์ลิสต์ที่มีทิศทางการทำงานแบบ 2 ทิศทาง
ในลิงค์ลิสต์แบบ 2ทิศทาง
ส่วนข้อมูลจะมีตัวชี้ไปที่ข้อมูลก่อนหน้า (backward pointer)
และตัวชี้ข้อมูลถัดไป(forward pointer)

DTSO4 14/07/2552

โครงสร้างข้อมูลแบบเซ็ต
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ข้อมูลแต่ละตัวไม่มีความสัมพันธ์กัน
ในภาษาซีจะไม่มีประเภทข้อมูลแบบเซ็ตนี้เหมือนกับในภาษาปาสคาล
แต่สามารถใช้หลักการของการดำเนินงานแบบเช็ตมาใช้ได้

วิธีการแก้ปัญหาเบื้องต้น
- จะต้องกำหนดเซ็ตของผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนในแต่ละวิชา
- นำเซ็ตดังกล่าวที่ได้มาทำการ intersection กัน หากมีเซ็ตใดที่
ทำการ intersect กันแล้ว มีข้อมูลสมาชิกในเซ็ตที่ซ้ำกันอยู่
จะไม่สามารถจัดให้วิชาดังกล่าวอยู่ในวันเวลาเดียวกันได้ตัวอย่างดังกล่าว
เป็นการนำแนวความคิดเรื่องการจัดการแบบเช็ตมาประยุกใช้งาน
โครงสร้างข้อมูลแบบสตริงสตริง (String)
หรือ สตริงของอักขระ (CharacterString) เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วยตัวอักษร
ตัวเลขหรือเครื่องหมายเรียงติดต่อกันไปรวมทั้งช่องว่าง
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับข้อมูลที่เป็นสตริงมีการนำไปใช้
สร้างโปรแกรมประเภทบรรณาธิการข้อความ(text editor)
หรือโปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (wordprocessing)
ซึ่งมีการทำงานที่อำนวยความสะดวกหลายอย่างเช่น
การตรวจสอบข้อความ การจัดแนวข้อความในแต่ละย่อหน้า
และการค้นหาคำ เป็นต้น

การกำหนดค่าให้กับสตริงนั้น เราจะใช้เครื่องหมาย doublequote (“ ”)
เช่น “abc” คือ ชุดของอักขระที่มีขนาด 4 (รวม \0 ด้วย)
ข้อสังเกต
string constant are different from character constant
#define NME “Semi”
main ( ){
char *cpntr;cpntr=NME;
printf(“con\n”);
printf(“%s, %u, %c\n”, “con”, “duc”,*“tor”);
printf(““%s, %u, %c\n”, NME, NME,*NME);
printf(““%s, %u, %c\n”, cpntr, cpntr,*cpntr);
}

ผลการรันโปรแกรม
concon, 37,
tSemi, 16,
SSemi, 16, S